วันเสาร์, 9 ธันวาคม 2566

การลดอุบัติเหตุ การหกลมในผู้สูงอายุ

21 ก.ค. 2016
17

รถเข็นผู้สูงอายุ

 

เป็นที่ทราบกันดีโดยทั่วไปแล้วว่า สังคมไทยในปัจจุบันได้เข้าสู่สังคมของผู้สูงอายุ

หรือเป็นสังคมที่มีสัดส่วนประชากร ของผู้สูงอายุสูงขึ้น เมื่อคนมีอายุมากขึ้นย่อมไม่สามารถ

หลีกเลี่ยงภาวะชราภาพ (aging) ได้ แม้ว่าเราจะสามารถชะลอได้ด้วยการออกกำลังกาย

ควบคุมหรือเลือกอาหาร การกินผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร  วิตามิน หรือ ยาบำรุงบางชนิด

ภาวะชราภาพนั่ง รถเข็นผู้ป่วย ในการเดินทางเคลื่อนไหว ก็ต้องเกิดขึ้นอย่างเหลีกเลี่ยงไม่ได้

เมื่อมีอายุมากขึ้นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายในอย่างหนึ่ง  คือความเปราะบาง

ของกระดูก  หรือการมีภาวะกระดูกพรุน ร่างกายที่มีกระดูกบางหรือกระดูกพรุน  จะเกิดการ

แตกหักถึงขั้นต้องนั่ง รถเข็นผู้สูงอายุ ได้ง่ายกว่าคนในวัยหนุ่มสาว รวมถึงเมื่อหักแล้วก็หาย  หรือ กลับมาเหมือนเดิม

ได้ยากกว่า   สามเหตุสำคัญประการหนึ่ง  ที่ทำให้ผู้สูงอายุเกิดการแตกหักของกระดูกคือ หกล้ม  หรือ การเกิดอุบัติเหตุ ในผู้สูงอายุที่เคลื่อนไหวไม่สะดวกควรมีตัวช่วยเช่น รถเข็นคนชรา หรือ รถเข็นช่วยพยุงเดิน เพื่อป้องกันการหกล้ม

จากการวิจัยของกระทรวงสาธารณะสุขในปี   พ.ศ.2552  ได้จัดสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุไว้ดังนี้

1.ผู้สูงอายุชายหกล้มนอกบ้าน    60%

2.ผู้สูงอายุหญิงหกล้มภายในบ้าน  55%

3.พื้นลื่น  42%

4.สะดุดสิ่งกีดขวาง  35%

5.พื้นต่างระดับ  24%

6.ตกบันได   4%

จากการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า การเสียชีวิตที่เกิดจากการบาดเจ็บในผู้สูงอายุ

ที่มีอายุเกินกว่า  75  ปีขึ้นไปพบว่า  ร้อยละ 70 มีสาเหตุจากการหกล้ม และพบว่า ร้อยละ 90 ของปัญหา

กระดูกสะโพกหักในรายผู้สูงอายุที่มีอายุมากเกิน 70 ปี ขึ้นไปเป็นผลจากการหกล้มเช่นกัน ดังนั้นการหกล้ม

ในผู้สูงอายุจึงเป็นปัญหาทางสุขภาพ ที่มีความสำคัญที่ต้องมีมาตรการป้องกันอย่างชัดเจน

แม้แต่ภายในบ้าน  ที่หลายคนคิดว่าเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยที่สุดก็เป็นสิ่งที่มองข้างไม่ได้

จากการวิจัยของกระทรวงสาธารณะสุขในปี พ.ศ.2552 พบว่าผู้สูงอายุชายหกล้มนอกบ้าน

มากถึงร้อยละ 60 ในณะที่ผู้สูงอายุหญิงมักหกล้มภายในบ้านร้อยละ 55 สาเหตุของการ

หกล้มภายในบ้านจากมากไปหาน้อย คือ  พื้นลื่น สะดุดสิ่งกีดขวางเวลาเดิน เดินบนพื้น

ต่างระดับโดยขาดความระวังและสุดท้าย คือ การตกบันได

 

ร้านขายเตียงผู้ป่วย ราคาถูก
ร้านขายเตียงผู้ป่วย ราคาถูก